มทร.ธัญบุรี; RMUTT; ARIT RMUTT; สวส.; สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมทร.ธัญบุรี; RMUTT; ARIT RMUTT; สวส.; สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมทร.ธัญบุรี; RMUTT; ARIT RMUTT; สวส.; สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมทร.ธัญบุรี; RMUTT; ARIT RMUTT; สวส.; สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • Home
  • เกี่ยวกับ
    • ประวัติความเป็นมา
    • นโยบายและการบริหารงาน
      • แผนปฎิบัติราชการ
      • นโยบายการบริหารงาน ปี 2566-2570
      • ประกาศ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ
      • คำสั่งแต่งตั้ง
      • รายงานผลการดำเนินงานในรอบ 1 ปี (ปี2566-2567)
      • รายงานผลการดำเนินงานในรอบ 2 ปี (2563-2564)
      • นโยบายการบริหาร ก่อนปี 2566
    • บุคลากรและโครงสร้างองค์กร
      • ทำเนียบผู้บริหาร
      • บุคลากรสำนักงานผู้อำนวยการ
      • บุคลากรกลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ
      • บุคลากรกลุ่มบริการสารสนเทศ
      • บุคลากรกลุ่มเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ
      • บุคลากรกลุ่มงานนวัตกรรมสื่อการศึกษา
      • ทำเนียบผู้บริหารปี 2558 ถึง 25 ก.พ. 2566
      • SAR
        • ระบบรายงานติดต่อผลการดำเนินการ (สวส.มทร.ธัญบุรี)
      • แบบประเมินความพึงพอใจ
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ประกาศ
    • งานบริการวิชาการเพื่อสังคม
    • รางวัลที่ได้รับ
    • แสดงความยินดี
    • ภาพกิจกรรม
    • รับสมัครเข้าร่วมอบรม
    • รับสมัครงาน
    • ประกาศ จัดซื้อ จัดจ้าง
  • ดาวน์โหลด
    • ตราสัญลักษณ์ ARIT
    • คู่มือ
    • กฎหมายดิจิทัลในประเทศไทย
  • บริการ
    • Service Catalog
    • ลงทะเบียน ย้ายคณะ ย้ายสาขา Account Internet Rmutt
    • ลงทะเบียน / Reset Password WIFI
    • ลงทะเบียน/Reset Password E-mail
    • บริการสืบค้นออนไลน์ มทร.ธัญบุรี
  • ข้อมูลการติดต่อ
  • รับข้อเสนอแนะ
Library
✕

จะเกิดอะไรขึ้น…ถ้าโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนของคุณหายไป

  • ข่าวประชาสัมพันธ์ 03-ข่าวจากสื่อ
  • จะเกิดอะไรขึ้น…ถ้าโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนของคุณหายไป
Published by Daochadaphon Suwan at 26/03/2012

บริษัท Symantac ซึ่งเป็นบริษัทด้านความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์หรือที่ทุกท่านรู้จักกันดีในชื่อโปรแกรม Norton Antivirus นี้เอง ได้ทำโครงการวิจัย The Symantec Smartphone Honey Stick Project ซึ่งสำรวจวิจัยเกี่ยวกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนหาย ซึ่งพบว่าเพียงแค่ 50 % ของผู้ที่เก็บได้เท่านั้นที่มีความพยายามที่จะส่งคืนเข้าของ และ 96% ของมือถือที่หายไป จะถูกผู้ที่เก็บได้เข้าถึงข้อมูลต่างๆที่อยู่ในเครื่องนั้น!….

โดยผลลัพธ์งานวิจัยนี้มาจากการที่ทีมงาน Symantec ทิ้งมือถือสมาร์ทโฟน 50 เครื่องตาม 5 เมืองของอเมริกาและแคนาดา โดยทิ้งตามแหล่งที่มีคนไปมาจำนวนหน้าแน่น ลิฟท์ ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ และสถานีขนส่งสำคัญ และภายในมือถือที่แอบทิ้งไว้มีโปรแกรมสำหรับวิเคราะห์คอยติดตามตรวจสอบการใช้งานมือถือจากระยะไกลติดตั้งไว้ด้วย

-6 คนจาก 10 คนของผู้ที่เก็บได้ จะพยายามเข้าถึงข้อมูลพวก Social network และ e-mail ของเจ้าของเครื่องที่อยู่ในเครื่องนั้นๆ อันนี้อันตราย ไม่ใช่แค่เค้าจะล้วงความลับคุณได้ แต่คุณยังอาจถูกสวมรอยเป็นตัวคุณได้ง่ายๆอีกด้วย

– 8 คนจาก 10 คนของผู้ที่พบสมาร์ทโฟน จะพยายามเข้าถึงข้อมูลธนาคารของเจ้าของเครื่อง

– ผู้ที่พบสมาร์ทโฟนบางคนพยายามหาทางใช้แอพบนมือถือเพื่อทำการ Remote Acess ระยะไกล

วิธีการป้องกัน

คุณเฮลีย์ ทีมงาน Symantec ได้เสนอวิธีป้องกันข้อมูลในกรณีโทรศัพท์หายนี้ ให้คุณใส่ใจเรื่องข้อมูลส่วนตัวภายในมือถือมากขึ้นและหาทางป้องกัน โดยเบื้องต้นตั้งรหัสผ่านให้กับมือถือคุณ จะเป็นแบบลากหรือแบบ Pin code ก็ได้ ป้องกันภาพ และคลิปหลุด และ พยายามเปิดบริการให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลมือถือของเราผ่านอินเตอร์เน็ตได้ ในกรณีที่มีคนขโมยมือถือของเราไป เราซึ่งเป็นเจ้าของมือถือตัวจริงก็ยังมีเวลาที่จะสามารถ Access เข้าถึงมือถือเราเพื่อเร่งรีบ Backup ก็ข้อมูลสำคัญในมือถือเราที่ถูกขโมยนี้ มาใส่ในคอมของเราและสั่งลบข้อมูลทั้งหมดในมือถือผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้ รวมทั้งแนะนำอย่างยิ่งสำหรับเจ้าของมือถือว่า ควรติดตั้งซอฟต์แวร์ในการหามือถือผ่านทาง GPS ด้วยเพื่อสะดวกในการตามหา

ข้อแนะนำสำหรับ บริษัท และ องค์กร เพื่อเตือนพนักงานที่ใช้มือถือและมีข้อมูลเกี่ยวกับงานองค์กรในมือถือนั้นด้วย

– บริษัท หรือองค์กร ควรมีนโยบายการรักษาความปลอดภัยสำหรับพนักงานที่ใช้โทรศัพท์มือถือในการทำงาน

– บริษัท ควรมุ่งเน้นไปที่การปกป้องข้อมูลอย่างแน่นหนาบนมือถือด้วยเช่นกันไม่ต่างจาก Notebook ส่วนตัว และต้องมีซอฟต์แวร์รักษาความปลอดภัยด้านข้อมูลบนมือถือ

– จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงานเกี่ยวกับความเสี่ยงที่จะตามมาของโทรศัพท์มือถือ เช่น ผลกระทบจากอุปกรณ์สูญหายหรือถูกขโมย

– นำมือถือของคุณมาให้ทางบริษัท เพื่อติดตั้งเชื่อมต่อข้อมูลจากมือถือคุณรายงานมาในบริษัท เพื่อให้บริษัทสามารถติดตามข้อมูลมือถือคุณว่าอยู่ที่ไหน

– มีแผนการเตรียมความพร้อม หากกรณีมือถือหาย เราสามารถ Access เข้าถึง ซอฟต์แวร์บนมือถือที่เราติดตั้งเพื่อติดตามหามือถือหรือเร่งกู้ข้อมูลสำคัญในองค์กร

– มีแผนบูรณาการการรักษาความปลอดภัยบนอุปกรณ์มือถือ เพื่อไม่ให้ข้อมูลสำคัญขององค์กรในมือถือนี้สูญหายหรือถูกขโมยไป

ในขณะที่เจ้าของมือถือควรปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ เพื่อให้แน่ใจว่าโทรศัพท์มือถือและข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่บนมือถือยังคงได้รับการป้องกันอยู่

– เปิดใช้คุณสมบัติการล็อคหน้าจอและตรวจสอบให้แน่ใจว่ามันปลอดภัยด้วยการรหัสผ่านตัวเลขที่คนอื่นเดายาก หรือใช้รูปแบบ “วาดเพื่อปลดล็อค”

– ใช้ซอฟต์แวร์รักษาความปลอดภัยที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับมาร์ทโฟนโดยเฉพาะ ซึ่งจะมีเครื่องมือที่สามารถหยุดแฮกเกอร์และป้องกันจากการขโมยข้อมูลหรือการสอดแนม ผ่านทางบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตสาธารณะ หรือบนเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ นอกจากนี้ซอฟต์แวร์รักษาความปลอดภัยบนมือถือนี้มักจะมีฟีเจอร์ที่สามารถช่วยค้นหามือถือในกรณีที่มือถือคุณสูญหายหรือถูกขโมย

– ผู้ใช้ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าอุปกรณ์มือถือของเรายังอยู่กับตัว อย่าทิ้งมือถือไว้ตามที่สาธารณะ และคงจะดีถ้าติดสติ๊กเกอร์ลวดลายต่างที่จำง่าย เพื่อเป็นหลักฐานที่ชัดขึ้นว่ามือถือเครื่องนี้เป็นเครื่องของเราจริงๆ

ลองทำตามขั้นตอนที่แนะนำมานี้เพื่อป้องกันข้อมูลสำคัญของคุณและองค์กรของคุณ เพราะถ้ากรณีมือถือหายนี้เกิดขึ้นกับตัวคุณจริงๆ จะยิ่งโชคร้ายและเลวร้ายยิ่งกว่าการสูญเสียกระเป๋าสตางค์ของคุณ เพราะอย่างน้อยสิ่งต่างๆในกระเป๋าสตางค์คุณสามารถระงับบัตรพวกบัตรเครดิต ATM แล้วทำบัตรใหม่ แน่นอนคุณยังมีเงินในกระเป๋าอยู่ แต่ถ้าเราทำมือถือสมาร์ทโฟนหาย และบนมือของคนอื่นไป ระวังให้ดีเค้าจะเข้าถึงอีเมลล์ส่วนตัวของคุณ ข้อความต่างๆ รูปภาพ วีดีโอ(ลับ) ข้อมูลลับขององค์กร และน่าเป็นห่วงมากที่สุดก็คือ พวกแอพพลิเคชั่น Social Network จะสวมรอยแทนเจ้าของตัวจริงได้ ซึ่งเค้าเหล่านี้ยังสามารถเข้าถึงทั้งข้อมูลของคุณ และข้อมูลเพื่อนๆของคุณได้ด้วย

แล้วตอนนี้คุณมีแผนป้องกันข้อมูลส่วนตัวบนมือถือสมาร์ทโฟนของคุณแล้วหรือยัง ?

ข้อมูลจาก Mashable , GMAnetwork , Symantec

ร่วมแบ่งปันข้อมูลข่าวสารจาก สวส. มทร.ธัญบุรี
      
Daochadaphon Suwan
Daochadaphon Suwan

Related posts

26/05/2025

ศูนย์พัฒนาและบริการนวัตกรรมดิจิทัลสมัยใหม่ (MoSeC) สวส. มทร.ธัญบุรี จัดเสวนาคณะรับรองฯ พิจารณา “ร่างกรอบสมรรถนะโค้ดดิง” (Coding Competency Framework – CCF) หนุนเป้าหมาย SDGs สู่สังคมแห่งการเรียนรู้และนวัตกรรมกรุงเทพฯ


Read more
23/05/2025

ประกาศ เรื่อง บัญชีรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อจ้างเป็นพนักงานพิเศษเงินรายได้ (ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป และ ตำแหน่ง พนักงานสถานที่)


Read more
23/05/2025

ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.อำนวย เรืองวารี ผู้อำนวยการ เนื่องในโอกาสที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสายสะพาย“ประถมาภรณ์มงกุฎไทย”


Read more

Comments are closed.


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
39 หมู่ที่ 1 ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
เผยแพร่ข้อมูลโดย.
บุคลากร สวส.
สร้างและพัฒนาโดย.
ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่ข้อมูลเว็บไซต์

ข้อมูลการติดต่อ


   Fanpage : AritRMUTT
  Line@ : https://lin.ee/tXe209C
  admin@rmutt.ac.th
  02 549 3074

บริการอื่นๆ ของ สวส.


  • ศูนย์สื่อดิจิทัล
  • ศูนย์นวัตกรรมและความรู้
  • ศูนย์พัฒนาและบริการนวัตกรรมดิจิทัล
    สมัยใหม่ (MoSeC)

งานบริการวิชาการให้กับหน่วยงานภายนอก


  • โครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ SME โดย. มทร.ธัญบุรี
  • กิจกรรมการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ให้บริการเครื่องจักรกลทางการเกษตร ภายใต้โครงการส่งเสริมการรแปรรูปสินค้าเกษตรระดับชุมชน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
  • โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย)
© 2021 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Library